CFD เป็นการลงทุนตราสารซับซ้อนและมีความเสี่ยงสูงที่อาจทำให้สูญเสียเงินทุนได้อย่างรวดเร็วเนื่องจากมีเลเวอเรจ คุณควรตรวจสอบตนเองว่าคุณเข้าใจวิธีการทำงานของ CFD หรือไม่ และคุณสามารถที่จะรับความเสี่ยงในการสูญเสียเงินทุนที่สูงนี้ได้หรือไม่
    Mitrade Insights ทุ่มเทเพื่อให้นักลงทุนได้รับข้อมูลทางการเงินที่ครบถ้วน ทันเวลา และมีคุณค่ามากที่สุด เพื่อช่วยให้นักลงทุนเข้าใจสถานการณ์ตลาดและคว้าโอกาสในการซื้อขายได้ทันท่วงที
    2021
    ผู้ให้บริการข่าวและการวิเคราะห์ที่ดีที่สุด
    FxDailyInfo
    2022
    แหล่งข้อมูลการศึกษา Forex ที่ดีที่สุดทั่วโลก
    International Business Magazine

    USD/JPY ทรงตัวอยู่ที่ระดับ 151.40 ท่ามกลางท่าทีระมัดระวังของ BOJ แม้เงินไขทางการเงินเปลี่ยนไป

    แหล่งที่มา Fxstreet
    29 มี.ค. 2567 09:25 น.
    • USD/JPY ต่อสู่เพื่อทรงตัวไว้ ขณะที่แนวทางระมัดระวังของ BoJ จะคงเงื่อนไขทางการเงินให้ผ่อนคลาย
    • ดัชนี CPI ของญี่ปุ่น (YoY) เพิ่มขึ้น 2.6% ในเดือนมีนาคม จากตัวเลขรายงานครั้งก่อนที่เพิ่มขึ้น 2.5%
    • การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐได้รับแรงหนุนจากแถลงการณ์ที่แสดงท่าที hawkish จากเจ้าหน้าที่ของเฟด

    USD/JPY ยังคงพักฐานและขยับเพียงบริเวณระดับ 151.40 ในช่วงเช้าของเซสชั่นยุโรปในวันศุกร์ ดัชนีราคาผู้บริโภคโตเกียว (YoY) ของเดือนมีนาคมเพิ่มขึ้น 2.6% หลังจากเพิ่มขึ้น 2.5% ในเดือนกุมภาพันธ์ ในขณะเดียวกันดัชนี Core CPI โตเกียวเพิ่มขึ้น 2.9% เมื่อเทียบเป็นรายปี ลดลงจากที่เพิ่มขึ้น 3.1% ในเดือนกุมภาพันธ์

    ด้านรัฐมนตรีกระทรวงการคลังของญี่ปุ่น นายชุนอิจิ ซูซูกิ กล่าวเมื่อวันศุกร์โดยเน้นย้ำถึงความสำคัญของการเคลื่อนไหวของค่าเงินที่มีเสถียรภาพและสอดคล้องถึงปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เขาแสดงความกังวลเกี่ยวกับความผันผวนอย่างรวดเร็วของตลาดแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (FX) ซึ่งเป็นผลมาจากการเก็งกำไรในการเคลื่อนไหวนี้ นายซูซุกิกล่าวอีกว่า เจ้าหน้าที่กำลังติดตามพัฒนาการในตลาด FX อย่างใกล้ชิดด้วยพร้อมในทุกสถานการณ์ และพร้อมที่จะใช้มาตรการทุกอย่างที่จำเป็นเพื่อจัดการกับการเคลื่อนไหวของตลาด FX ที่ไม่เป็นเหมาะสม

    และเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา นายกรัฐมนตรีฟูมิโอะ คิชิดะของญี่ปุ่นกล่าวว่า เป็นเรื่องเหมาะสมที่ธนาคารกลางจะ "รักษาเงื่อนไขทางการเงินที่ผ่อนคลาย" โดยนายคิชิดะยังเน้นย้ำอีก ว่ารัฐบาลจะยังคงร่วมมือกับธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่น (BoJ) เพื่ออำนวยความสะดวกในการขึ้นค่าจ้างและควบคุมเศรษฐกิจให้พ้นจากภาวะเงินฝืด ค่าเงินเยนของญี่ปุ่น (JPY) น่าจะเผชิญกับแรงกดดันบางส่วน เนื่องจากธนาคารแห่งประเทศญี่ปุ่นเลือกใช้แนวทางอย่างระมัดระวังในการรักษาภาวะการเงินที่ผ่อนคลาย ดังนั้นจึงจะหนุนคู่เงิน USD/JPY

    ดัชนีดอลลาร์สหรัฐ (DXY) แข็งค่าขึ้นเข้าใกล้ระดับ 104.60 เนื่องจากข้อมูลล่าสุดบ่งชี้ถึงการขยายตัวทางเศรษฐกิจในรายปีในสหรัฐอเมริกา (US) ซึ่งได้แรงหนุนจากดัชนีการใช้จ่ายของผู้บริโภคในไตรมาสที่สี่ของปี 2023 และผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของสหรัฐอเมริกา (GDP) เพิ่มขึ้น 3.4% ต่อปี ซึ่งสูงกว่าการคาดการณ์ของตลาดที่จะยังคงไม่เปลี่ยนแปลงจากการเพิ่มขึ้น 3.2%  ด้านดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของสหรัฐฯ ยังคงทรงตัวโดยเพิ่มขึ้น 1.7% สอดคล้องกับการคาดการณ์สำหรับไตรมาสที่ 4

    คำแถลงที่แสดงท่าที hawkish จากเจ้าหน้าที่ธนาคารกลางสหรัฐ (Fed) ช่วยหนุนค่าเงินดอลลาร์ ซึ่งความเห็นของผู้ว่าการเฟด นายคริสโตเฟอร์ วอลเลอร์ เมื่อวันพุธบอกเป็นนัยถึงความล่าช้าในการปรับลดอัตราดอกเบี้ยออกไป เนื่องจากตัวเลขเงินเฟ้อที่แข็งแกร่ง

    USD/JPY

    ภาพรวม
    ราคาสุดท้ายวันนี้ 151.34
    การเปลี่ยนแปลงวันนี้ -0.04
    % เปลี่ยนแปลงวันนี้ -0.03
    ราคาเปิดวันนี้ 151.38
     
    แนวโน้ม
    SMA20 รายวัน 149.74
    SMA50 รายวัน 149.34
    SMA 100 รายวัน 147.6
    SMA200 รายวัน 146.84
     
    ระดับ
    จุดสูงสุดของวัน 151.54
    จุดต่ำสุดของวัน 151.15
    จุดสูงสุดของสัปดาห์ที่แล้ว 151.86
    จุดต่ำสุดของสัปดาห์ที่แล้ว 148.91
    จุดสูงสุดของเดือนที่แล้ว 150.89
    จุดต่ำสุดของเดือนที่แล้ว 145.9
    Fibonacci รายวัน 38.2% 151.39
    Fibonacci รายวัน 61.8% 151.3
    Pivot Point แนวรับที่ 1 รายวัน 151.17
    Pivot Point แนวรับที่ 2 รายวัน 150.96
    Pivot Point แนวรับที่ 3 รายวัน 150.78
    Pivot Point แนวต้านที่ 1 รายวัน 151.57
    Pivot Point แนวต้านที่ 2 รายวัน 151.75
    Pivot Point แนวต้านที่ 3 รายวัน 151.96

     

     

     

    ข้อจำกัดความรับผิดชอบ: เพื่อการอ้างอิงเท่านั้น ผลการดำเนินงานในอดีตไม่ได้บ่งบอกถึงผลลัพธ์ในอนาคต
    placeholder
    วิเคราะห์โครงสร้างรูปเมฆอิจิโมขุของคู่ AUD/USDAUD/USD พบฐานราคาใหม่เหนือขอบด้านบนของกรอบเทรนด์ไลน์ลาดลง คู่สกุลเงินดังกล่าววิ่งอยู่เหนือโครงสร้าง Ichimoku Cloud ซึ่งบ่งบอกถึงแนวโน้มของตลาดที่เป็นขาขึ้น เราคาดว่าจะมีการเข้าทดสอบเส้น Tenkan-Sen ที่ระดับ 0.6495 ตามด้วยการปรับตัวขึ้นเป็น 0.6625 สัญญาณเพิ่มเติมที่ยืนยันการปรับตัวขาขึ้นจะเป็นการดีดตัวขึ้นจากขอบล่างของกรอบเทรนด์ไลน์ลาดขึ้น ซึ่งสถานการณ์นี้อาจถูกยกเลิกไปได้โดยการทะลุขอบล่างของโครงสร้าง Cloud ดังกล่าว เมื่อราคาทรงตัวอยู่ต่ำกว่าระดับ 0.6395 ซึ่งจะบ่งชี้ว่าจะมีการป
    แหล่งที่มา  Fxstreet
    AUD/USD พบฐานราคาใหม่เหนือขอบด้านบนของกรอบเทรนด์ไลน์ลาดลง คู่สกุลเงินดังกล่าววิ่งอยู่เหนือโครงสร้าง Ichimoku Cloud ซึ่งบ่งบอกถึงแนวโน้มของตลาดที่เป็นขาขึ้น เราคาดว่าจะมีการเข้าทดสอบเส้น Tenkan-Sen ที่ระดับ 0.6495 ตามด้วยการปรับตัวขึ้นเป็น 0.6625 สัญญาณเพิ่มเติมที่ยืนยันการปรับตัวขาขึ้นจะเป็นการดีดตัวขึ้นจากขอบล่างของกรอบเทรนด์ไลน์ลาดขึ้น ซึ่งสถานการณ์นี้อาจถูกยกเลิกไปได้โดยการทะลุขอบล่างของโครงสร้าง Cloud ดังกล่าว เมื่อราคาทรงตัวอยู่ต่ำกว่าระดับ 0.6395 ซึ่งจะบ่งชี้ว่าจะมีการป
    placeholder
    วิเคราะห์โครงสร้างรูปเมฆอิจิโมขุของคู่ EUR/USDEUR/USD กำลังขยับขึ้นสู่ขอบด้านบนของรูปแบบกราฟ Wolfe Wave ลาดลง กราฟคู่สกุลเงินดังกล่าวกำลังขยับเข้าไปในกรอบ Ichimoku Cloud ซึ่งบ่งบอกถึงการเคลื่อนไหวไปในไซด์เวย์ เราคาดว่าจะมีการเข้าทดสอบขอบด้านบนของโครงสร้าง Cloud ที่ระดับ 1.0715 ตามด้วยการปรับตัวลงมาที่ 1.0580 การกลับตัวจากขอบด้านบนของกรอบเทรนด์ไลน์ลาดลงจะส่งสัญญาณให้ระดับราคาลดลง ซึ่งสถานการณ์นี้อาจถูกยกเลิกไปได้โดยการทะลุขอบด้านบนของโครงสร้าง Cloud เมื่อระดับราคาทรงตัวได้เหนือ 1.0765 ซึ่งบ่งชี้ว่าจะมีการปรับตัวขึ้นอีกเป็
    แหล่งที่มา  Fxstreet
    EUR/USD กำลังขยับขึ้นสู่ขอบด้านบนของรูปแบบกราฟ Wolfe Wave ลาดลง กราฟคู่สกุลเงินดังกล่าวกำลังขยับเข้าไปในกรอบ Ichimoku Cloud ซึ่งบ่งบอกถึงการเคลื่อนไหวไปในไซด์เวย์ เราคาดว่าจะมีการเข้าทดสอบขอบด้านบนของโครงสร้าง Cloud ที่ระดับ 1.0715 ตามด้วยการปรับตัวลงมาที่ 1.0580 การกลับตัวจากขอบด้านบนของกรอบเทรนด์ไลน์ลาดลงจะส่งสัญญาณให้ระดับราคาลดลง ซึ่งสถานการณ์นี้อาจถูกยกเลิกไปได้โดยการทะลุขอบด้านบนของโครงสร้าง Cloud เมื่อระดับราคาทรงตัวได้เหนือ 1.0765 ซึ่งบ่งชี้ว่าจะมีการปรับตัวขึ้นอีกเป็
    placeholder
    ฟอเร็กซ์เช้านี้: ความแตกต่างด้านนโยบายการเงินและประเด็นทางภูมิรัฐศาสตร์เป็นปัจจัยขับเคลื่อนตลาดความวุ่นวายทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ลดน้อยลงทําให้สินทรัพย์เสี่ยงปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วงต้นสัปดาห์ สัปดาห์นี้ ตลาดลงทุนจะถูกครอบงําด้วยการรอดูข้อมูลอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐฯ ในวันศุกร์ รวมถึงรายงานผลประกอบการของบริษัทต่างๆ
    แหล่งที่มา  Fxstreet
    ความวุ่นวายทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ลดน้อยลงทําให้สินทรัพย์เสี่ยงปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วงต้นสัปดาห์ สัปดาห์นี้ ตลาดลงทุนจะถูกครอบงําด้วยการรอดูข้อมูลอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐฯ ในวันศุกร์ รวมถึงรายงานผลประกอบการของบริษัทต่างๆ
    ตราสารที่เกี่ยวข้อง
    goTop
    quote